• LinkedIn
  • Join Us on Google Plus!
  • Subcribe to Our RSS Feed

วันเสาร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2564

วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2564

วันอังคารที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ความสว่างของดวงดาว

สิงหาคม 31, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇




1. ค่าความสว่างของดวงดาวมีกี่ค่าอะไรบ้าง

2. ดาวหัวใจสิงห์อยู่ห่างจากโลก 25 พาร์เซค มีโชติมาตรปรากฏเท่ากับ 1.36 จงหาค่าโชติมาตรสัมบูรณ์มีเท่าใด

3. ชื่อ นามสกุล

4. ชั้น เลขที่

ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇

การจัดอันดับความส่องสว่างของฮิพพาร์คัส

  ฮิพพาร์คัส (Hipparchus) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวกรีกในช่วง 190 - 127 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นคนแรกที่ทำการเปรียบเทียบความส่องสว่างปรากฏ (apparent brightness)ของดาวด้วยตาเปล่า โดยแบ่งดาวตามความสว่าง เรียกว่า อันดับความสว่าง หรือ โชติมาตรปรากฏ และกำหนดเป็นตัวเลขตั้งแต่ 1- 6 โดยให้ดาวฤกษ์ที่เห็นสว่างที่สุดมีโขติมาตรปรากฎเป็นอันดับต้นสุดคือ 1 และดาวฤกษ์ที่เห็นแสงริบหรี่ หรือสว่างน้อยที่สุดมีโชติมาตรปรากฎอันดับท้ายสุดเป็น 6 ดังนั้นตัวเลขดังกล่าวเป็นเพียงเปรียบเทียบความส่องสว่างปรากฎของดาวบนท้องฟ้าไม่สามรถบอกได้ว่า ดาวที่เห็นสว่างมากกว่าจะต้องมีพลังงานเทอร์มอนิวเคลียร์ที่แก่นสูงกว่าเสมอไป เพราะมีปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน ขนาด และระยะห่างมาเกี่ยวข้อง

  โชติมาตรปรากฎของดาวซึ่งเป็นตัวเลข มีความสัมพันธ์อย่างไรกับความส่องสว่างที่ปรากฏต่อสายตา เมื่อเรามองดูดาวบนท้องฟ้า เมื่อโชติมาตรปรากฏของดาวสองดวงต่างกัน 1ดาวทั้งสองจะมีความส่องสว่างต่างกัน 2.512 เท่า โดยดาว 2 ดวงที่มีโขติมาตรปรากฏต่างกัน 2จะมีความสว่างต่างกัน (2.512)ู^2เท่า และดาวสองดวงมีโชติมาตรปรากฏต่างกัน 3 จะมีค่าความส่องสว่างต่างกัน(2.512)^3 เท่าเป็นต้น


ดาวที่เห็นริบหรี่ที่สุดมิโชติมาตรปรากฎ = 6

ดาวที่เห็นสว่างที่สุดมิโชติมาตรปรากฎ = 1

โชติมาตรปรากฎต่างกัน 6 - 1 = 5

ความส่องสว่างต่างกัน = (2.512)5 = 100 เท่า

ดังนั้น ดาวที่สว่างที่สุดมีความส่องสว่างมากกว่าดาวที่เห็นริบหรี่ที่สุดเท่ากับ 100 เท่า


   B1/B2 = 2.512^(m2-m1)


โชติมาตรสัมบูรณ์ เป็นการเปรียบเทียบกำลังส่องสว่างของดาวฤกษ์ที่ระยะห่างจากผู้สังเกตเท่ากับ 10 พาร์เซกเท่ากัน เนื่องจากที่ระยะ 10 พาร์เซก ค่าโชติมาตรสัมบูรณ์ของดาวฤกษ์จะเท่ากับค่าโชติมาตรปรากฏของดาวฤกษ์

M = m+5-5log d(pc)

M = m+5-5log10(pc)

M = m+5-5

M = m

วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2564

วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2564

วันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564

การหาระยะทางของดาวฤกษ์

สิงหาคม 18, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇




1. ดาวดวงหนึ่งมีมุมแพรัลแลกซ์ (Parallax) เท่ากับ 0.20 ฟิลิปดา จงหาระยะห่างระหว่างโลกกับดาวดวงนั้น(ปีแสง Ly)

2. ดาวหัวใจสิงห์อยู่ห่างจากโลก 25 พาร์เซค มีโชติมาตรปรากฏเท่ากับ 1.36 จงหาค่าโชติมาตรสัมบูรณ์มีเท่าใด

3. ชื่อ นามสกุล

4. ชั้น เลขที่

ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇

1.ระยะทางระหว่างดาวฤกษ์กับโลก

1.1.ต้องรู้ว่าระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ปัจจุบัน นักดาราสาสตร์กำหนดระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เท่ากับ  1 หน่วยดาราศาสตร์ หรือเรียกว่า1 AU (Astronomy Unit) ค่า  1 AU = 149.6 ล้านกิโลเมตร

1.2 สังเกตดาวที่สนใจ บันทึกวันที่เริ่มสังเกต
1.3 รอไปอีก 6 เดือน  ข้อนี้สำคัญที่สุด เพราะว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปฝั่งตรงข้ามกับตอนเริ่มต้น เพื่อให้เกิดเป็นเส้นตรง และกลายเป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่ว โดยมีดาวที่สังเกตเป็นมุมยอด ส่วนอีกสองมุม คือ ตำแหน่งของโลกตอนเริ่มต้นและตำแหน่งของโลกตอนนี้เป็นอีก 2 มุม (เรามั่นใจได้อย่างไรว่า ตำแหน่งของโลกตอนเริ่มต้นกับตอนที่ผ่านมาประมาณ 6 เดือนนี้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันโดยมีดวงอาทิตย์อยู่กลาง(ดังรูปข้างล่าง ไม่ตรงสัดส่วนที่แท้จริง NOT TO SCALE)


1.4 วัดมุมแพรัลแลกซ์ จากโลกไปถึงดวงดาวที่สังเกต บันทึกเป็น มุม p มีหน่วยเป็นเรเดียน 
1.5 ใช้ตรีโกณมิติในการคำนวณ
1.6 ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดวงดาวที่สังเกตหาได้จาก
                tan(p) = 1AU/d
1.7 ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกตหาได้จาก
                sin(p) = 1AU/x
1.8 ด้วยเงื่อนไข
    1. ถ้าระยะจากดวงอาทิตย์ไปถึงดาวที่สังเกตนั้นอยู่ไกลมาก ๆ
    2. มุม p มีค่าน้อยมาก ๆ
    3. ค่า  sin(p)≈ tan(p)
    4. ค่า tan(p) ≈ p
1.9 ทำให้ได้ว่า ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกตมีค่าใกล้เคียงกับระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกต
                    x ≈ d (d ≈ x)
1.20 จากสมการ
                    tan(p) = 1AU/d
                จะได้ว่า
                        p  = 1AU/d
                        d  = 1AU/p
1.21 แปลงมุม p (เรเดียน)อยู่ในหน่วยฟิลิบดา
                    180 องศา  = 𝝅  เรเดียน
                      1 องศา  =  60 ลิปดา 
                      1 ลิปดา  =  60 ฟิลิบดา
                      1 องศา   = 3600 ฟิลิบดา
 ดังนั้น 180 องศา  =  180x3600 ฟิลิปดา
 180x3600 ฟิลิบดา  =  𝝅  เรเดียน
       ถ้าทราบมุม p = 1 ฟิลิบดา
                        p  =  𝝅/180x3600
            จาก          d  = 1AU/p
      จะได้         d  = 1AU/(𝝅/180x3600)
                         d = 1AU.(180x3600)/𝝅
                         d  ≈ 206,265 AU

1.22 ดังนั้น นักดาราศาสตร์กำหนดให้ ถ้ามุม 1 ฟิลิบดา ระยะทางเท่ากับ 1 พาร์เซค หรือ Parsec ย่อมาจาก Parallax Angle of 1 Arc Second จะได้ว่า

1p = 206,265 หน่วยดาราศาสตร์ (AU) 

หรือ 3.26 ปีแสง(Ly)

1.23 ดังนั้นจากสมการเอาไว้หาระยะจากดาวฤกษ์ที่สังเกตถึงโลก(ถึงดวงอาทิตย์)ได้จากสมการ

                 d = 1/p     พาร์เซค

     p คือมุมที่วัดได้มีหน่วยเป็นฟิลิบดา  

 เอาแค่นี้ก่อน เดี่ยวค่อยมาว่ากันว่ากันต่อ

วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2564

วันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ดาวฤกษ์

สิงหาคม 15, 2564 // by curayou // // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇







1. ปฏิกิริยาที่ก่อเกิดความดันมากที่แกนกลางดาวฤกษ์คือ

2. เมื่อเวลาเปลี่ยนไปดาวฤกษ์กับดาวเคราะห์แบบไหนมีการเปลี่ยนแปลงเร็วกว่ากันเพราะเหตุใด

3. ชื่อ นามสกุล

4. ชั้น เลขที่

------------------------------------------------------------------

ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇
 
  ความรู้ทั่วไป 
    โอ้ดาวฤกษ์ที่เกิดในเอกภพนี้                  ดูช่างมีมากมายหลายเหลือล้น

              ทั้งรู้จักไม่รู้จักมักคุ้นอย่าหมองมน          เพราะชีวิตคนอาศัยแสงสว่างจากดววงดาว

              โอ้ดาวฤกษ์แต่ละดวงต้องมนต์ขลัง        มีพลังมากมายอย่างสุดหาว

              มีคุณสมบัติแตกต่างกันแต่ละดวงดาว    ไม่ใช่หนุมานจะได้หาวเป้นดาวเดือน

              ทั้ง ความสว่าง อุณหภูมิ สี และสเปคตรัม  คือคุณสมบัติที่แตกต่างอย่าได้เหมือน

             แต่ละดวงศึกษาอย่าได้เชือนแช                ให้แน่วแน่ว่ารู้ดวงใดเป็นดวงใด

            ความสว่างที่ส่องมาจากไกลพ้น                ให้ผู้คนได้เห็นว่าดาวอยู่ที่ไหน

            หากเห็นสว่างน้อย ยิ่งมาจากแดนไกล       เอาโชติมาตรวัดไว้ ดวงใดสว่างกว่ากัน

            อีกทั้งอุณหภูมิอีกหนาศึกษาไว้                 ดาวดวงใด ปล่อยแสงสีและสเปคตรัม

            อุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำไม่เหมือนกัน        สเปคตรัมปล่อยออกมาน่าชื่นชม

            ต้นกำเนิดของดาวฤกษ์ที่เจิดจ้า                ที่เนบิวลาเกิดการยุบตัวอย่างสาสม

            ด้วยแรงมากมายคือแรงโน้มถ่วงสากล      จึงบันดลให้ดาวฤกษ์ได้เกิดมา

            แล้วมวลเจ้าเบาหรือหนักช่วยวานบอก    ไม่รู้หรอกเพราะมีวิวัฒนการหนา

            เมื่อเวลาเปลี่ยนไปมวลเปลี่ยนไปตามประสา  เหมือนมีชีวาดังมนุษย์ของเราเอย

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

การแทรกสอดของคลื่นแสงต่อ

สิงหาคม 10, 2564 // by curayou // // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇





1. ถ้าใช้แสงที่มีความถี่มาก(ความยาวคลื่นน้อย)ระยะจากแถบสว่างตรงกลางถึงระยะจากแถบสว่างอันดับที่ 1 เป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับแสงสีแดงที่มีความถี่น้อย ความยาวคลื่นมาก

2. นักเรียนคิดว่าการแทรกสอดของแสงในชีวิตประจำวันของเรามีอะไรบ้าง

3. ชื่อ นามสกุล

4. ชั้น เลขที่

------------------------------------------------------------------

ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇
 
  การแทรกสอดของแสง 
    รูปด้านล่างคือด้านข้างของการทดลอง


 

                รูปข้างล่างคือตัวอย่างการแทรกสอดของคลื่นแสงสีแดง   

                สิ่งที่สังเกตเห็นมีความสัมพันธ์หลายตัวแปร

                    S1 S2 เป้นแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์อยู่ห่างกันเป็นระยะ d
                    แสงผ่านสลิตคุ๋มาก็จะเกิดลวดลวยการแทรกสอดบนฉากซึ่งอยู่ห่างจากสลิตเป็นระยะ L
                    ตำแหน่งที่มีการแทรกสอดแบบเสริมคือตำแหน่งที่มีความสว่างเกิดขึ้น  ดูจากกราฟ
                    ความเข้มแสง ถ้ากราฟสูงขึ้นแสดงว่ามีความเข้มแสงสูง (มีความสว่างมาก) ถ้ากราฟต่ำ
                    แสดงว่าความเข้มแสงน้อย(มีความสว่างน้อย)
                    ตำแหน่งที่มีความสว่างเรียกว่าตำแหน่งปฏิบัพ หรือเรียกว่าแถบสว่างเป็นตำแหน่งที่มีการ                       แทรกสอดเเบบเสริม ใช๋สัญลักษณ์ A ตรงกลางจะมีความเข้มมากสุดใช้สัญลักษณ์A0 
                    แถบสว่างอันดับถัดไปก็จะเป็นแถบสว่างอันดับที่1 2 จะมีความสว่างน้อยลงตาม                                   ลำดับและใช้สัญลักษณ์ A1 A2...... ตามลำดับ
                    ตำแหน่งที่ไม่มีความสว่างตำหน่งบัพ หรือเรียกว่าแถบมืดเป็นตำแหน่งที่มีการ                                       แทรกสอดเเบบหักล้าง ใช๋สัญลักษณ์ N แถบมืดจะอยู่สลับกับแถบสว่าง 
                    แถบมืดใช้สัญลักษณ์ N โดยแถบมืดอันดับที่1 2 ใช้สัญลักษณ์ N1 N2...... ตามลำดับ


                    รูปข้างล่างคือ ตำแหน่งใด ๆบนฉากด้านหลังของสลิต
                        ตำแหน่งใด ๆ ที่เกิดการแทรกสอดบนฉาก อยู่ห่างจากแถบสว่างกลางเป็นระยะ x
                        ตำแหน่งใด ๆ ที่เกิดการแทรกสอดบนฉาก มีมุมที่เบนไปจากตรงกลางเท่ากับ θ

               

วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564

กาแล็กซี่ทางช้างเผือก

สิงหาคม 08, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇



1. โครงสร้างกาแล้กซี่ทางช้างเผือกประกอบด้วยอะไรบ้างที่สำคัญ

        ..................................................... 

    2. เราสังเกตทางช้างเผือกจากกลุ่มดาวอะไร

        ..................................................

    3. ชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่

       ......................................

    4. วัน เดือน ปี 

การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่

สิงหาคม 08, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇



1. เมื่อแสงเดินทางไปผ่านสลิตคู่แล้วไปถึงฉากหลังจุดที่มีการแบบเสริมเฟสของแสง      เป็นอย่างไร

        ..................................................... 

    2. ระยะห้างระหว่างสลิตกับฉาก มีผลต่อแถบสว่างที่เกิดขึ้นบนฉากหรือไม่อย่างไร          อย่างไร เมื่อค่าอื่น ๆคงตัวเท่าเดิม

        ..................................................

    3. ชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่

       ......................................

    4. วัน เดือน ปี 

วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแสง

สิงหาคม 05, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇

1. ใครเป็นผู้พิสูจน์ว่าแสงเป็นคลื่น

        ..................................................... 

    2. สมบัติเฉพาะของคลื่นที่วัตถุไม่สามารถแสดงพฤติกรรมได้

        ..................................................

    3. ชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่

       ......................................

    4. วัน เดือน ปี 

วันพุธที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2564

การสะท้อนของแสง

สิงหาคม 04, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇





ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. กฏการสะท้อนคือ

2. มุมตกระทบ30องศามุมสะท้อนกี่องศา

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

การเลี้ยวเบนของคลื่น

กรกฎาคม 28, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇



ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. การเลี้ยวเบนของคลื่นเป็นไปตามหลักของนักวิทยาศาสตร์ชื่อ

2. คลื่นเลี้ยวเบนมีอะไรที่เปลี่ยนไปจากคลื่นที่มาตกกระทบสิ่งกีดขวาง

3. ถ้าขนาดของช่องที่คลื่นผ่านมีค่ามากกว่าความยาวคลื่นมากๆๆๆ ผลของคลื่นที่ผ่านช่องนั้นจะเป็นอย่างไร

4. ถ้าขนาดของช่องที่คลื่นผ่านมีค่าน้อยกว่าความยาวคลื่นมากๆๆๆ ผลของคลื่นที่ผ่านช่องนั้นจะเป็นอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตัวอย่างการแทรกสอด

กรกฎาคม 28, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇








ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. คลื่นนิ่งทีวง 5 วง ปลายตรึง 2 ข้าง มีจุดปฏิบัพกี่จุด

2. คลื่นนิ่งทีวง 5 วง ปลายตรึง 1 ข้าง มีจุดบัพกี่จุด

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันจันทร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

การแทรกสอดของคลื่นน้ำ

กรกฎาคม 26, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇






ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. การแทรกสอดของคลื่นน้ำมีขึ้น 2 ขบวน และเคลื่อนที่ไปอย่างไร

2. จุดปฏิบัพ(แนวปฏิบัพ) มีกี่รูปแบบ

3. แนวบัพของคลื่นน้ำจะมองเห็นเป็นอย่างไร

4. ระยะห่างระหว่างช่อง 2 ช่อง มีผลต่อการแทรกสอดแแบเสริมอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันอาทิตย์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

กำเนิดเอกภพ

กรกฎาคม 18, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇







ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1.เราสังเกตเห็นทางช้างเผือกได้ร้อยละเท่าใด

2. ในวันเดียวกัน แต่อยู่คนละประเทศสังเกตเห็นทางช้างเผือกเหมือนกันหรือไม่

3. บริเวณใดที่มีขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมบริเวณทั้งหมดของกาแล็กซีทางช้างเผือก

4. โครงสร้างของกาแล็กซีทางช้างเผือกประกอบด้วยอะไรบ้าง

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

จากคาเร็คเตอร์ภายนอกของครู นักเรียนคิดว่าครูเกิดวันอะไร ราศีอะไร

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

การแทรกสอดของคลื่น

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

หน้า HTML ตัวอย่าง
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇









ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การหักเหของคลื่น

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇







ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การสะท้อนของคลื่น

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇





ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b> --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักการของฮอยเกนส์และหลักการซ้อนทับ

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇



ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b> --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อัตราเร็วของคลื่นในตัวกลาง

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇
ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b> --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ตัวอย่างการคำนวณ

กรกฎาคม 12, 2564 // by curayou // 2 comments

ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ส่วนที่ 2 เนื้อหาการเรียนรู้ครับ อัตราเร็วคลื่น
 ตัวอย่าง1 เชือกยาว 5 เมตร ต่อกับเครื่องกำเนิดคลื่นให้ความถี่ 10 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าคลื่นเคลื่อนที่ถึงปลายอีกด้านหนึ่งภายใน 4 วินาที ความยาวคลื่นมีค่ากี่เซนติเมตร
  วิธีทำ วิเคราะห์โจทย์ที่ให้มา
       1. เชือกยาว 5 เมตร นี้คือระยะที่คลื่นเคลื่อนที่ s = 5 m
      2. ความถี่ 10 เฮิรตซ์ f = 10 Hz
      3. คลื่นเคลื่อนที่ถึงปลายอีกด้านหนึ่งภายใน 4 วินาที   t = 4 s
      4. ความยาวคลื่นมีค่ากี่เซนติเมตร หา λ = ?
หา  λ  ได้จากความสัมพันธ์
 -------(1)

ส่วนอัตราเร็วคลื่นหาจาก
            
 ---------(2)

แทนค่าตัวแปร s = 5 m t = 4 s ลงในสมการที่ 2
จะได้อัตราเร็วคลื่น
    v = 5/4 =......m/s

นำตัวแปร v และ f แทนค่าลงไปในสมการที่ 1 จะได้
    5/4  =  10 λ
ก็จะได้
     λ  =  5/40 = ......m
หรือเท่ากับ............เซนติเมตร ตอบ
--------------------------------------------------------------------------------
 ตัวอย่าง 2 คลื่นมีอัตราเร็ว 20 เซนติเมตรต่อวินาที มีความถี่ 4 เฮิรตซ์  ความต่างเฟสบนคลื่นเท่ากับ 30 องศา จะอยู่ห่างกันกี่เซนติเมตร
 วิธีทำ วิเคราะห์โจทย์ที่ให้มา
       1. อัตราเร็วคลื่น 20 เซนติเมตรต่อวินาที
      2. ความถี่ 4 เฮิรตซ์ f = 4 Hz
      3. ความต่างเฟสบนคลื่นเท่ากับ 30 องศา Δɸ = 30 องศา
      4. หารระยะที่ต่างกัน 
Δx = ?
หาจากความสัมพันธ์
......(1)




1.โดยต้องหามุมในหน่วยเรเดียนก่อน
     เทียบ 360 องศา เทียบเท่า 2𝛑 เรเดียน
     ถ้ามุม    30 องศา  จะมีเทียบเท่า 

                Δɸ = 30x2𝛑 /360 = ........เรเดียน  (ติดค่าพายน์ไว้)

2.โดยต้องหาความยาวคลื่นอีก λ = ? 
    หา  λ  ได้จากความสัมพันธ์
  แทนค่า v และ f ลงไป จะได้ความยาวคลื่น
            
                λ =  20/4      เซนติเมตร      
3.นำค่า Δɸ และ λ ที่ได้  แทนลงในสมการที่ 1 จะได้
    
        Δx = ?

      ลองหาเองนะครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------

ส่วนที่ 3 แบบฟอร์มการเช็คชื่อครับ ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง