• LinkedIn
  • Join Us on Google Plus!
  • Subcribe to Our RSS Feed

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

การแทรกสอดของคลื่นแสงต่อ

สิงหาคม 10, 2564 // by curayou // // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇





1. ถ้าใช้แสงที่มีความถี่มาก(ความยาวคลื่นน้อย)ระยะจากแถบสว่างตรงกลางถึงระยะจากแถบสว่างอันดับที่ 1 เป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับแสงสีแดงที่มีความถี่น้อย ความยาวคลื่นมาก

2. นักเรียนคิดว่าการแทรกสอดของแสงในชีวิตประจำวันของเรามีอะไรบ้าง

3. ชื่อ นามสกุล

4. ชั้น เลขที่

วันพฤหัสที่ 10 เมษายน 2568

9:02:03
------------------------------------------------------------------

ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇
 
  การแทรกสอดของแสง 
    รูปด้านล่างคือด้านข้างของการทดลอง


 

                รูปข้างล่างคือตัวอย่างการแทรกสอดของคลื่นแสงสีแดง   

                สิ่งที่สังเกตเห็นมีความสัมพันธ์หลายตัวแปร

                    S1 S2 เป้นแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์อยู่ห่างกันเป็นระยะ d
                    แสงผ่านสลิตคุ๋มาก็จะเกิดลวดลวยการแทรกสอดบนฉากซึ่งอยู่ห่างจากสลิตเป็นระยะ L
                    ตำแหน่งที่มีการแทรกสอดแบบเสริมคือตำแหน่งที่มีความสว่างเกิดขึ้น  ดูจากกราฟ
                    ความเข้มแสง ถ้ากราฟสูงขึ้นแสดงว่ามีความเข้มแสงสูง (มีความสว่างมาก) ถ้ากราฟต่ำ
                    แสดงว่าความเข้มแสงน้อย(มีความสว่างน้อย)
                    ตำแหน่งที่มีความสว่างเรียกว่าตำแหน่งปฏิบัพ หรือเรียกว่าแถบสว่างเป็นตำแหน่งที่มีการ                       แทรกสอดเเบบเสริม ใช๋สัญลักษณ์ A ตรงกลางจะมีความเข้มมากสุดใช้สัญลักษณ์A0 
                    แถบสว่างอันดับถัดไปก็จะเป็นแถบสว่างอันดับที่1 2 จะมีความสว่างน้อยลงตาม                                   ลำดับและใช้สัญลักษณ์ A1 A2...... ตามลำดับ
                    ตำแหน่งที่ไม่มีความสว่างตำหน่งบัพ หรือเรียกว่าแถบมืดเป็นตำแหน่งที่มีการ                                       แทรกสอดเเบบหักล้าง ใช๋สัญลักษณ์ N แถบมืดจะอยู่สลับกับแถบสว่าง 
                    แถบมืดใช้สัญลักษณ์ N โดยแถบมืดอันดับที่1 2 ใช้สัญลักษณ์ N1 N2...... ตามลำดับ


                    รูปข้างล่างคือ ตำแหน่งใด ๆบนฉากด้านหลังของสลิต
                        ตำแหน่งใด ๆ ที่เกิดการแทรกสอดบนฉาก อยู่ห่างจากแถบสว่างกลางเป็นระยะ x
                        ตำแหน่งใด ๆ ที่เกิดการแทรกสอดบนฉาก มีมุมที่เบนไปจากตรงกลางเท่ากับ θ

                                1.การแทรกสอบแบบเสริม      


                        - ผลต่างของระยะทางต้องเป็นจำนวนเท่าของความยาวคลื่น
                    - โดยผลต่างของระยะทางหาได้จาก


                    -  ความสัมพันธ์ของมุมที่เบนไปกับระยะห่างของช่อง

 
                     - กรณีมุมเบนไปด้วยมุมน้อย ๆ (น้อยกว่า 10 องศา)
                                           

                      2.การแทรกสอบแบบหักล้าง      




                    - ผลต่างของระยะทางต้องเป็นจำนวนเท่าเต็มแล้วลบด้วยครึ่งเท่าของความยาวคลื่น


                    - โดยผลต่างของระยะทางหาได้จาก


                -  ความสัมพันธ์ของมุมที่เบนไปกับระยะห่างของช่อง
 
                    - กรณีมุมเบนไปด้วยมุมน้อย ๆ (น้อยกว่า 10 องศา)
                                           


0 Comments:

แสดงความคิดเห็น