วันอังคารที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564
วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การหักเหของแสง
วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2564
วันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การหาระยะทางของดาวฤกษ์
1.4 วัดมุมแพรัลแลกซ์ จากโลกไปถึงดวงดาวที่สังเกต บันทึกเป็น มุม p มีหน่วยเป็นเรเดียน
1.5 ใช้ตรีโกณมิติในการคำนวณ
tan(p) = 1AU/d
sin(p) = 1AU/x
1.8 ด้วยเงื่อนไข
1. ถ้าระยะจากดวงอาทิตย์ไปถึงดาวที่สังเกตนั้นอยู่ไกลมาก ๆ
2. มุม p มีค่าน้อยมาก ๆ
3. ค่า sin(p)≈ tan(p)
4. ค่า tan(p) ≈ p
1.9 ทำให้ได้ว่า ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกตมีค่าใกล้เคียงกับระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกต
x ≈ d (d ≈ x)
1.20 จากสมการ
tan(p) = 1AU/d
จะได้ว่า
p = 1AU/d
d = 1AU/p
180 องศา = 𝝅 เรเดียน
1 องศา = 60 ลิปดา
1 ลิปดา = 60 ฟิลิบดา
1 องศา = 3600 ฟิลิบดา
180x3600 ฟิลิบดา = 𝝅 เรเดียน
ถ้าทราบมุม p = 1 ฟิลิบดา
p = 𝝅/180x3600
จาก d = 1AU/p
จะได้ d = 1AU/(𝝅/180x3600)
d = 1AU.(180x3600)/𝝅
1.22 ดังนั้น นักดาราศาสตร์กำหนดให้ ถ้ามุม 1 ฟิลิบดา ระยะทางเท่ากับ 1 พาร์เซค หรือ Parsec ย่อมาจาก Parallax Angle of 1 Arc Second จะได้ว่า
1p = 206,265 หน่วยดาราศาสตร์ (AU)
หรือ 3.26 ปีแสง(Ly)
1.23 ดังนั้นจากสมการเอาไว้หาระยะจากดาวฤกษ์ที่สังเกตถึงโลก(ถึงดวงอาทิตย์)ได้จากสมการ
d = 1/p พาร์เซค
p คือมุมที่วัดได้มีหน่วยเป็นฟิลิบดา
เอาแค่นี้ก่อน เดี่ยวค่อยมาว่ากันว่ากันต่อ
วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2564
วันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ดาวฤกษ์
ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇ความรู้ทั่วไปโอ้ดาวฤกษ์ที่เกิดในเอกภพนี้ ดูช่างมีมากมายหลายเหลือล้น
ทั้งรู้จักไม่รู้จักมักคุ้นอย่าหมองมน เพราะชีวิตคนอาศัยแสงสว่างจากดววงดาว
โอ้ดาวฤกษ์แต่ละดวงต้องมนต์ขลัง มีพลังมากมายอย่างสุดหาว
มีคุณสมบัติแตกต่างกันแต่ละดวงดาว ไม่ใช่หนุมานจะได้หาวเป้นดาวเดือน
ทั้ง ความสว่าง อุณหภูมิ สี และสเปคตรัม คือคุณสมบัติที่แตกต่างอย่าได้เหมือน
แต่ละดวงศึกษาอย่าได้เชือนแช ให้แน่วแน่ว่ารู้ดวงใดเป็นดวงใด
ความสว่างที่ส่องมาจากไกลพ้น ให้ผู้คนได้เห็นว่าดาวอยู่ที่ไหน
หากเห็นสว่างน้อย ยิ่งมาจากแดนไกล เอาโชติมาตรวัดไว้ ดวงใดสว่างกว่ากัน
อีกทั้งอุณหภูมิอีกหนาศึกษาไว้ ดาวดวงใด ปล่อยแสงสีและสเปคตรัม
อุณหภูมิสูง อุณหภูมิต่ำไม่เหมือนกัน สเปคตรัมปล่อยออกมาน่าชื่นชม
ต้นกำเนิดของดาวฤกษ์ที่เจิดจ้า ที่เนบิวลาเกิดการยุบตัวอย่างสาสม
ด้วยแรงมากมายคือแรงโน้มถ่วงสากล จึงบันดลให้ดาวฤกษ์ได้เกิดมา
แล้วมวลเจ้าเบาหรือหนักช่วยวานบอก ไม่รู้หรอกเพราะมีวิวัฒนการหนา
เมื่อเวลาเปลี่ยนไปมวลเปลี่ยนไปตามประสา เหมือนมีชีวาดังมนุษย์ของเราเอย
วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การแทรกสอดของคลื่นแสงต่อ
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇
ส่วนที่2 เนื้อหาการเรียนรู้👇การแทรกสอดของแสงรูปด้านล่างคือด้านข้างของการทดลอง
รูปข้างล่างคือตัวอย่างการแทรกสอดของคลื่นแสงสีแดง
สิ่งที่สังเกตเห็นมีความสัมพันธ์หลายตัวแปร
วันอาทิตย์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2564
กาแล็กซี่ทางช้างเผือก
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇1. โครงสร้างกาแล้กซี่ทางช้างเผือกประกอบด้วยอะไรบ้างที่สำคัญ.....................................................
2. เราสังเกตทางช้างเผือกจากกลุ่มดาวอะไร
..................................................
3. ชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่
......................................
4. วัน เดือน ปี
การแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇1. เมื่อแสงเดินทางไปผ่านสลิตคู่แล้วไปถึงฉากหลังจุดที่มีการแบบเสริมเฟสของแสง เป็นอย่างไร.....................................................
2. ระยะห้างระหว่างสลิตกับฉาก มีผลต่อแถบสว่างที่เกิดขึ้นบนฉากหรือไม่อย่างไร อย่างไร เมื่อค่าอื่น ๆคงตัวเท่าเดิม
..................................................
3. ชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่
......................................
4. วัน เดือน ปี
วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแสง
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇1. ใครเป็นผู้พิสูจน์ว่าแสงเป็นคลื่น.....................................................
2. สมบัติเฉพาะของคลื่นที่วัตถุไม่สามารถแสดงพฤติกรรมได้
..................................................
3. ชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่
......................................
4. วัน เดือน ปี
วันพุธที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การสะท้อนของแสง