วันเสาร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2564
วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2564
วันอังคารที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2564
ความสว่างของดวงดาว
สิงหาคม 31, 2564 // by curayou
// No comments
วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การหักเหของแสง
สิงหาคม 28, 2564 // by curayou
// No comments
วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2564
วันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การหาระยะทางของดาวฤกษ์
สิงหาคม 18, 2564 // by curayou
// No comments
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇
1.2 สังเกตดาวที่สนใจ บันทึกวันที่เริ่มสังเกต
1.3 รอไปอีก 6 เดือน ข้อนี้สำคัญที่สุด เพราะว่าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปฝั่งตรงข้ามกับตอนเริ่มต้น เพื่อให้เกิดเป็นเส้นตรง และกลายเป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่ว โดยมีดาวที่สังเกตเป็นมุมยอด ส่วนอีกสองมุม คือ ตำแหน่งของโลกตอนเริ่มต้นและตำแหน่งของโลกตอนนี้เป็นอีก 2 มุม (เรามั่นใจได้อย่างไรว่า ตำแหน่งของโลกตอนเริ่มต้นกับตอนที่ผ่านมาประมาณ 6 เดือนนี้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันโดยมีดวงอาทิตย์อยู่กลาง(ดังรูปข้างล่าง ไม่ตรงสัดส่วนที่แท้จริง NOT TO SCALE)
1.4 วัดมุมแพรัลแลกซ์ จากโลกไปถึงดวงดาวที่สังเกต บันทึกเป็น มุม p มีหน่วยเป็นเรเดียน
1.5 ใช้ตรีโกณมิติในการคำนวณ
1.6 ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดวงดาวที่สังเกตหาได้จาก
tan(p) = 1AU/d
tan(p) = 1AU/d
1.7 ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกตหาได้จาก
sin(p) = 1AU/x
1.8 ด้วยเงื่อนไข
1. ถ้าระยะจากดวงอาทิตย์ไปถึงดาวที่สังเกตนั้นอยู่ไกลมาก ๆ
2. มุม p มีค่าน้อยมาก ๆ
3. ค่า sin(p)≈ tan(p)
4. ค่า tan(p) ≈ p
1.9 ทำให้ได้ว่า ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกตมีค่าใกล้เคียงกับระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกต
x ≈ d (d ≈ x)
1.20 จากสมการ
tan(p) = 1AU/d
จะได้ว่า
p = 1AU/d
d = 1AU/p
sin(p) = 1AU/x
1.8 ด้วยเงื่อนไข
1. ถ้าระยะจากดวงอาทิตย์ไปถึงดาวที่สังเกตนั้นอยู่ไกลมาก ๆ
2. มุม p มีค่าน้อยมาก ๆ
3. ค่า sin(p)≈ tan(p)
4. ค่า tan(p) ≈ p
1.9 ทำให้ได้ว่า ระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกตมีค่าใกล้เคียงกับระยะทางจากโลกถึงดวงดาวที่สังเกต
x ≈ d (d ≈ x)
1.20 จากสมการ
tan(p) = 1AU/d
จะได้ว่า
p = 1AU/d
d = 1AU/p
1.21 แปลงมุม p (เรเดียน)อยู่ในหน่วยฟิลิบดา
180 องศา = 𝝅 เรเดียน
1 องศา = 60 ลิปดา
1 ลิปดา = 60 ฟิลิบดา
1 องศา = 3600 ฟิลิบดา
180 องศา = 𝝅 เรเดียน
1 องศา = 60 ลิปดา
1 ลิปดา = 60 ฟิลิบดา
1 องศา = 3600 ฟิลิบดา
ดังนั้น 180 องศา = 180x3600 ฟิลิปดา
180x3600 ฟิลิบดา = 𝝅 เรเดียน
ถ้าทราบมุม p = 1 ฟิลิบดา
p = 𝝅/180x3600
จาก d = 1AU/p
จะได้ d = 1AU/(𝝅/180x3600)
d = 1AU.(180x3600)/𝝅
180x3600 ฟิลิบดา = 𝝅 เรเดียน
ถ้าทราบมุม p = 1 ฟิลิบดา
p = 𝝅/180x3600
จาก d = 1AU/p
จะได้ d = 1AU/(𝝅/180x3600)
d = 1AU.(180x3600)/𝝅
d ≈ 206,265 AU
1.22 ดังนั้น นักดาราศาสตร์กำหนดให้ ถ้ามุม 1 ฟิลิบดา ระยะทางเท่ากับ 1 พาร์เซค หรือ Parsec ย่อมาจาก Parallax Angle of 1 Arc Second จะได้ว่า
1p = 206,265 หน่วยดาราศาสตร์ (AU)
หรือ 3.26 ปีแสง(Ly)
1.23 ดังนั้นจากสมการเอาไว้หาระยะจากดาวฤกษ์ที่สังเกตถึงโลก(ถึงดวงอาทิตย์)ได้จากสมการ
d = 1/p พาร์เซค
p คือมุมที่วัดได้มีหน่วยเป็นฟิลิบดา
เอาแค่นี้ก่อน เดี่ยวค่อยมาว่ากันว่ากันต่อ
วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2564
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)