• LinkedIn
  • Join Us on Google Plus!
  • Subcribe to Our RSS Feed

วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

การเลี้ยวเบนของคลื่น

กรกฎาคม 28, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇



ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. การเลี้ยวเบนของคลื่นเป็นไปตามหลักของนักวิทยาศาสตร์ชื่อ

2. คลื่นเลี้ยวเบนมีอะไรที่เปลี่ยนไปจากคลื่นที่มาตกกระทบสิ่งกีดขวาง

3. ถ้าขนาดของช่องที่คลื่นผ่านมีค่ามากกว่าความยาวคลื่นมากๆๆๆ ผลของคลื่นที่ผ่านช่องนั้นจะเป็นอย่างไร

4. ถ้าขนาดของช่องที่คลื่นผ่านมีค่าน้อยกว่าความยาวคลื่นมากๆๆๆ ผลของคลื่นที่ผ่านช่องนั้นจะเป็นอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตัวอย่างการแทรกสอด

กรกฎาคม 28, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇








ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. คลื่นนิ่งทีวง 5 วง ปลายตรึง 2 ข้าง มีจุดปฏิบัพกี่จุด

2. คลื่นนิ่งทีวง 5 วง ปลายตรึง 1 ข้าง มีจุดบัพกี่จุด

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันจันทร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

การแทรกสอดของคลื่นน้ำ

กรกฎาคม 26, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇






ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1. การแทรกสอดของคลื่นน้ำมีขึ้น 2 ขบวน และเคลื่อนที่ไปอย่างไร

2. จุดปฏิบัพ(แนวปฏิบัพ) มีกี่รูปแบบ

3. แนวบัพของคลื่นน้ำจะมองเห็นเป็นอย่างไร

4. ระยะห่างระหว่างช่อง 2 ช่อง มีผลต่อการแทรกสอดแแบเสริมอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

กรอกข้อมูล วันเดือนปี คาบที่เข้าเรียน

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันอาทิตย์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

กำเนิดเอกภพ

กรกฎาคม 18, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇







ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
1.เราสังเกตเห็นทางช้างเผือกได้ร้อยละเท่าใด

2. ในวันเดียวกัน แต่อยู่คนละประเทศสังเกตเห็นทางช้างเผือกเหมือนกันหรือไม่

3. บริเวณใดที่มีขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมบริเวณทั้งหมดของกาแล็กซีทางช้างเผือก

4. โครงสร้างของกาแล็กซีทางช้างเผือกประกอบด้วยอะไรบ้าง

ชื่อ-นามสกุล

ชั้น เลขที่

จากคาเร็คเตอร์ภายนอกของครู นักเรียนคิดว่าครูเกิดวันอะไร ราศีอะไร

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

การแทรกสอดของคลื่น

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

หน้า HTML ตัวอย่าง
ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇









ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การหักเหของคลื่น

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇







ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การสะท้อนของคลื่น

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇





ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b> --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

หลักการของฮอยเกนส์และหลักการซ้อนทับ

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇



ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b> --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อัตราเร็วของคลื่นในตัวกลาง

กรกฎาคม 13, 2564 // by curayou // No comments

ส่วนแรกทดสอบก่อนเรียนนะครับ👇
ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b> --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันจันทร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ตัวอย่างการคำนวณ

กรกฎาคม 12, 2564 // by curayou // 2 comments

ส่วนที่ 1 ทดสอบก่อนเรียนทำทุกข้อนะครับ จะได้รู้ว่าใครเข้าเรียน <b>แบบทดสอบก่อนเรียน</b>

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ส่วนที่ 2 เนื้อหาการเรียนรู้ครับ อัตราเร็วคลื่น
 ตัวอย่าง1 เชือกยาว 5 เมตร ต่อกับเครื่องกำเนิดคลื่นให้ความถี่ 10 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าคลื่นเคลื่อนที่ถึงปลายอีกด้านหนึ่งภายใน 4 วินาที ความยาวคลื่นมีค่ากี่เซนติเมตร
  วิธีทำ วิเคราะห์โจทย์ที่ให้มา
       1. เชือกยาว 5 เมตร นี้คือระยะที่คลื่นเคลื่อนที่ s = 5 m
      2. ความถี่ 10 เฮิรตซ์ f = 10 Hz
      3. คลื่นเคลื่อนที่ถึงปลายอีกด้านหนึ่งภายใน 4 วินาที   t = 4 s
      4. ความยาวคลื่นมีค่ากี่เซนติเมตร หา λ = ?
หา  λ  ได้จากความสัมพันธ์
 -------(1)

ส่วนอัตราเร็วคลื่นหาจาก
            
 ---------(2)

แทนค่าตัวแปร s = 5 m t = 4 s ลงในสมการที่ 2
จะได้อัตราเร็วคลื่น
    v = 5/4 =......m/s

นำตัวแปร v และ f แทนค่าลงไปในสมการที่ 1 จะได้
    5/4  =  10 λ
ก็จะได้
     λ  =  5/40 = ......m
หรือเท่ากับ............เซนติเมตร ตอบ
--------------------------------------------------------------------------------
 ตัวอย่าง 2 คลื่นมีอัตราเร็ว 20 เซนติเมตรต่อวินาที มีความถี่ 4 เฮิรตซ์  ความต่างเฟสบนคลื่นเท่ากับ 30 องศา จะอยู่ห่างกันกี่เซนติเมตร
 วิธีทำ วิเคราะห์โจทย์ที่ให้มา
       1. อัตราเร็วคลื่น 20 เซนติเมตรต่อวินาที
      2. ความถี่ 4 เฮิรตซ์ f = 4 Hz
      3. ความต่างเฟสบนคลื่นเท่ากับ 30 องศา Δɸ = 30 องศา
      4. หารระยะที่ต่างกัน 
Δx = ?
หาจากความสัมพันธ์
......(1)




1.โดยต้องหามุมในหน่วยเรเดียนก่อน
     เทียบ 360 องศา เทียบเท่า 2𝛑 เรเดียน
     ถ้ามุม    30 องศา  จะมีเทียบเท่า 

                Δɸ = 30x2𝛑 /360 = ........เรเดียน  (ติดค่าพายน์ไว้)

2.โดยต้องหาความยาวคลื่นอีก λ = ? 
    หา  λ  ได้จากความสัมพันธ์
  แทนค่า v และ f ลงไป จะได้ความยาวคลื่น
            
                λ =  20/4      เซนติเมตร      
3.นำค่า Δɸ และ λ ที่ได้  แทนลงในสมการที่ 1 จะได้
    
        Δx = ?

      ลองหาเองนะครับ
------------------------------------------------------------------------------------------------

ส่วนที่ 3 แบบฟอร์มการเช็คชื่อครับ ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

เอกภพและกาแล็กซี

กรกฎาคม 11, 2564 // by curayou // No comments

แบบทดสอบความรู้ออนไลน์

กำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ

คำว่า "เอกภพ" หรือ "จักรวาล" เป็นคำเดียวกันตรงกับคำว่า "Universe" ซึ่งหมายถึง ทั้งหมดของสรรพสิ่งทั้งสิ้นทั้งปวง  เอกภพเป็นคำที่ใช้ในภาษาวิชาการ ส่วนคำว่าจักรวาลเป็นที่นิยมใช้แพร่หลายทั่วไป  นักดาราศาสตร์ทำการสำรวจการเลื่อนแดงของกระจุกกาแล็กซีและพบว่า กระจุกกาแล็กซีทั้งหลายกำลังเคลื่อนที่ออกห่างจากโลกมากขึ้นในทุกทิศทาง จึงตั้งสมมติฐานว่า เอกภพกำลังขยายตัว โดยเปรียบเทียบว่า ถ้าลูกโป่งคือเอกภพ และจุดบนผิวลูกโป่งคือกระจุกกาแล็กซี เมื่อเราเป่าลูกโป่ง จุดแต่ละจุดบนผิวลูกโป่งจะมีระยะทางห่างจากกันมากขึ้น
   ปัจุบันทฤษฎีที่ได้รับการยอมรับการกำเนิดเอกภพคือ บิกแบง Bigbang

กำเนิดเอกภพเริ่มนับจากจุดที่เรียกว่า"บิกแบง (BigBang)" บิกแบงเป็นชื่อที่ใช้เรียกทฤษฎีกำเนิดเอกภพทฤษฎีหนึ่ง ปัจจุบันบิกแบงเป็นที่ยอมรับมากขึ้นเพราะมีปรากฏการณ์หลายอย่างที่สอดคล้องหรือเป็นไปตามทฤษฎีบิกแบงก่อนการเกิดบิกแบงเอกภพเป็นพลังงานล้วนๆ ภายใต้อุณหภูมิที่สูงยิ่ง จุดบิกแบงจึงเป็นจุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป็นสสารครั้งแรก เป็นจุดเริ่มต้นของเวลาและเอกภพ

ปัจจุบันเอกภพประกอบด้วยกาแล็กซีจำนวนเป็นแสนล้านแห่ง ระหว่างกาแล็กซีเป็นอวกาศที่เวิ้งว้างกว้างไกลเอกภพจึงมีขนาดใหญ่มากโดยมีรัศมีไม่น้อยกว่า 15,000 ล้านปีแสง และมีอายุประมาณ 15,000 ล้านปีแสงภายในกาแล็กซีแต่ละแห่งประกอบด้วยดาวฤกษ์จำนวนมากรวมทั้งแหล่งกำเนิดดาวฤกษ์ที่เรียกว่า เนบิวลา และที่ว่าง โลกของเราเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งในระบบสุริยะซึ่งเป็นสมาชิกหนึ่งของกาแล็กซีของเรา

บิกแบงเป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงการระเบิดใหญ่ที่ทำให้พลังงานส่วนหนึ่งเปลี่ยนเป็นเนื้อสาร มีวิวัฒนาการต่อเนื่องจนเกิดเป็นกาแล็กซี เนบิวลา ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ โลก ดวงจันทร์ มนุษย์ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ

ขณะเกิดบิกแบง มีเนื้อสารเกิดขึ้นในรูปของอนุภาคพื้นฐานชื่อ ควาร์ก (Quark) อิเล็กตรอน (Electron) นิวทริโน (Neutrino) และโฟตอน (Photon) ซึ่งเป็นพลังงาน เมื่อเกิดอนุภาคก็จะเกิดปฏิอนุภาค (Anti-particle) ที่มีประจุไฟฟ้าตรงกันข้าม ยกเว้นนิวทริโนและแอนตินิวทริโน ไม่มีประจุไฟฟ้า เมื่อปฏิอนุภาคพบกับอนุภาคชนิดเดียวกัน จะหลอมรวมกันเนื้อสารเปลี่ยนไปเป็นพลังงานจนหมดสิ้น ถ้าเอกภพมีจำนวนอนุภาคเท่ากับปฏิอนุภาคพอดี เมื่อพบกันจะกลายเป็นพลังงานทั้งหมด ก็จะไม่เกิดกาแล็กซี ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ โชคดีที่ในธรรมชาติ มีอนุภาคมากกว่าปฏิอนุภาค ดังนั้นเมื่อปฏิอนุภาคพบอนุภาค นอกจากจะได้พลังงานเกิดขึ้นแล้ว ยังมีอนุภาคเหลืออยู่ และนี่คืออนุภาคก่อกำเนิดเป็นสสารของเอกภพในปัจจุบัน

หลังบิกแบงเพียง 10-6วินาที อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นสิบล้านล้านเคลวิน ทำให้ควาร์กเกิดการรวมตัวกันเป็นโปรตอน (นิวเคลียสของไฮโดรเจน)และนิวตรอน

หลังบิกแบง 3 นาที อุณหภูมิของเอกภพลดลงเป็นร้อยล้านเคลวิน มีผลให้โปรตรตอนและนิวตรอนเกิดการรวมตัวเป็นนิวเคลียสของฮีเลียม ในช่วงแรกๆนี้เอกภพขยายตัวอย่างเร็วมาก

หลังบิกแบง 300,000ปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 10,000 เคลวิน นิวเคลียสของไฮโดรเจนและฮีเลียมดึงอิเล็กตรอนเข้ามาอยู่ในวงโคจร เกิดเป็นอะตอมไฮโดรเจนและฮีเลียมตามลำดับ

กาแล็กซีต่างๆเกิดหลักบิกแบงอย่างน้อย 1,000 ล้านปี ภายในกาแล็กซีมีธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมเป็นสารเบื้องต้นซึ่งก่อกำเนิดเป็นดาวฤกษ์รุ่นแรกๆ ส่วนธาตุต่างๆที่มีมวลมากกว่าฮีเลียมเกิดจากดาวฤกษ์ขนาดใหญ่

ข้อสังเกตที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ปรากฏการณ์อย่างน้อย 2 อย่าง ที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ได้แก่

1. การขยายตัวของเอกภพฮับเบิล นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันค้นพบว่า กาแล็กซีเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วที่เพิ่มขึ้นตามระยะห่าง กาแล็กซีที่อยู่ไกลยิ่งเคลื่อนที่ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่นคือ เอกภพกำลังขยายตัวจากความเข้าใจในเรื่องนี้ทำให้นักดาราศาสตร์สามารถคำนวณอายุของเอกภพได้

2. อุณหภูมิพื้นหลังอวกาศซึ่งปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวินการค้นพบอุณหภูมิของเอกภพในปัจจุบัน หรืออุณหภูมิพื้นหลังเป็นการค้นพบโดยบังเอิญโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกา 2 คน คือ อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน แห่งห้องปฏิบัติการเบลเทเลโฟน เมื่อปีพ.ศ.2508 ขณะนักวิทยาศาสตร์ทั้งสองคน กำลังทดสอบระบบเครื่องรับสัญญาณของกล้อง โทรทรรศน์วิทยุปรากฏว่ามีสัญญาณรบกวนตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืน หรือฤดูต่างๆ แม้เปลี่ยนทิศทาง และทำความสะอาดสายอากาศแล้วก็ยังมีสัญญาณรบกวนอยู่เช่นเดิม ต่อมาทราบภายหลังว่าเป็นสัญญาณที่เหลืออยู่ในอวกาศเทียบได้กับพลังงานของการแผ่รังสีของวัตถุดำ ที่มีอุณหภูมิประมาณ2.73เคลวินหรือประมาณ – 270 องศาเซลเซียส

ในขณะเดียวกัน โรเบิร์ต ดิกกี พี.เจ.อีพี เบิลส์ เดวิด โรลล์ และ เดวิด วิลคินสัน แห่งมหาวิทยาลัยปรินซ์ตันได้ทำนายมานานแล้วว่า การแผ่รังสีจากบิกแบงที่เหลืออยู่ในปัจจุบันน่าจะตรวจสอบได้ โดยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ

ดังนั้นการพบพลังงานจากทุกทิศในปริมาณที่เทียบได้กับพลังงานการแผ่รังสี ของวัตถุดำที่ประมาณ2.73เคลวินจึงเป็นอีกข้อหนึ่งที่สนับสนุน ทฤษฎีบิกแบงได้เป็นอย่างดี

รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ           

          รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ (Cosmic Microwave Background Radiation) หรือเรียกสั้นๆ ว่า CMB (ควันหลงของบิกแบง) เป็นสิ่งที่มีการเลื่อนทางแดงมากที่สุดในเอกภพ นั่นหมายความว่า CMB เป็นปรากฏการณ์ที่เก่าแก่ที่สุดในเอกภพ และเป็นหลักฐานยืนยันทฤษฎีบิกแบง ในปี ค.ศ.1989 NASA ได้ส่งยานอวกาศ Cosmic Background Explorer (COBE) ขึ้นไปศึกษาพบว่า CMB ความยาวคลื่นเข้มสุด 1.06 mm จึงสามารถใช้กฎของวีน (wein's law) คำนวนหาอุณหภูมิของเอกภพได้ T = 0.0029 /λmax = 0.0029 / 1 x 10-9 = 2.726 K 

          นี่คืออุณหภูมิที่เอกภพเย็นตัวลงนับจากตอนที่เอกภพมีอายุประมาณ 300,000 ปี (ช่วงเวลาของกำเนิดอะตอม) ซึ่งในปัจจุบันลดลงเหลือเพียง 2.726 K ยานอวกาศ COBE ได้ทำแผนที่แสดงอุณหภูมิของเอกภพ ดังที่แสดงในภาพที่ 2 สีแดงเป็นบริเวณที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ย 10-4 K  สีน้ำเงินเป็นบริเวณที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิเฉลี่ย 10-4 K แม้ว่าอุณหภูมิจะแตกต่างเพียงเล็กน้อย แต่ก็เป็นหลักฐานยืนยันว่า แต่ละอาณาบริเวณของเอกภพเย็นตัวลงไม่พร้อมกัน กาแล็กซีจึงก่อตัวเป็นหย่อมๆ เป็นกระจุก ไม่กระจายตัวเท่าๆ กันในเอกภพ


ให้นักเรียนวิเคราะห์วิวัฒนาการของเอกภพตามรูปข้างล่าง

ตารางเปรียบเทียบวิวัฒนาการหลังเกิดบิกแบง

เช่น 

ช่วงแรกหลังการเกิดบิกแบง

    1. ช่วงเวลา 10^(-43) - 10^(-32) วินาที 

    2. มีอุณภูมิประมาณ 10^(32) - 10^(27) เคลวิน

    3. พบอนุภาคพื้นฐานคือ ควาร์ก แอนติควาร์ก อิเล็กตรอน โพซิตรอน

นิวทริโน และแอนตินิวทริโน

ช่วงท้ายการเกิดบิกแบง

    1. ช่วงเวลา 1000 -1380 ล้านปี 

    2. อุณภูมิประมาณ 100 - 2.73 เคลวิน

    3. พบอนุภาคพื้นฐานคือ นิวทริโน โฟตอน และกาแล็กซี

สรุป

นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างแบบจำลองอายุของเอกภพในแต่ละขั้นตอน อธิบายตามภาพที่ 3 ได้ดังนี้ (คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพใหญ่)
  • 10-43 วินาที เอกภพมีอุณหภูมิสูงถึง 1032 K จึงยังไม่มีอนุภาคใดๆ เกิดขึ้น 
  • 10-10 วินาที อุณหภูมิลดลงเหลือ 1032 K กำเนิดอนุภาคขนาดเล็ก
  • 1 วินาที อุณหภูมิ 1010 K กำเนิดโปรตรอนและอิเล็กตรอน 
  • 3 นาที อุณหภูมิ 109 K โปรตรอนและนิวตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียส 
  • 300,000 ปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 6,000 K กำเนิดอะตอม 
  • 1,000 ล้านปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 18 K อะตอมรวมตัวเป็นโมเลกุล กำเนิดกาแล็กซีและดาวฤกษ์
  • 13,000 ล้านปี อุณหภูมิลดลงเหลือ 3 K เอกภพในสภาพปัจจุบัน
ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

วันพฤหัสบดีที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

เฟสของคลื่น

กรกฎาคม 08, 2564 // by curayou // 5 comments

เฟสของคลื่น

ให้นักเรียนศึกษาจากคลิปด้านล่าง

จากคลิปที่ให้เรียนรู้พบว่า
    เมื่อพิจารณาอนุภาคในเส้นเชือกที่กำเอดเป้นคลื่น จะพบว่า อนุภาคนั้นไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไปตามทิศทางของคลื่น(คลื่นในเส้นเชือกเคลื่อนที่ไปทางขวามือ)  แต่อนุภาคในเส้นเชือกมีการคเลื่อนทีี่ขึ้นลง ขึ้นลง วนกลับไปกลับมาซ้้ำตำแหน่งเดิมอยู่ตลอดเวลา
   ตำแหน่งของอนุภาคในเส้นเชือกที่มีการเคลื่อนที่เหล่านั้น  บอกด้วยเฟส หน่วยของเฟสคือ เรเดียน  หรือบางครั้งก็ใช้องศา  โดย 2PI เรเดียน เท่ากับ 360 องศา
    การบอกตำแหน่งด้วยเฟสนั้น ให้เทียบกับวงกลม ตำแหน่งที่อ้างอิงคือจุดเริ่มต้นของการเคลื่อนที่ ส่วนมากในระดับนี้ มุมเริ่มต้นเท่ากับ 0 องศา หรือ 0 เรเดียน
ลองพิจารณาตำแหน่งของคลื่นมีความสัมพันธ์กับเฟสดังรูปข้างล่าง


เฟสของคลื่น

ที่จุดอ้างอิง คือจุดเริ่มต้นของการเคลื่อนที่ ในรูปคือจุด a มีเฟสเท่ากับ 0 หรือยังไม่มีเฟส
ที่จุด c  มีเฟสเท่ากับ 180 องศา
ที่จุด e  มีเฟสเท่ากับ 360 องศา
ที่จุด g  มีเฟสเท่ากับ 540 องศา
ที่จุด i   มีเฟสเท่ากับ 720 องศา
เฟสของจุด c e g i หรือทุกจุดในรูปมีจุดอ้างอิงที่จุดเดียวกันคือจุด a
ความต่างเฟส
    เป็นความต่างเฟสของจุด 2 จุดใด ๆ หาได้จาก
        
เช่น ความต่างเฟสระหว่างจุด c กับจุด e มีค่าเท่าไหร่
    จะพบว่า
    ที่จุด c  มีเฟสเท่ากับ 180 องศา
    ที่จุด e  มีเฟสเท่ากับ 360 องศา
    ดังนั้น ความต่างเฟสมีค่าเท่ากับ 360 - 180 = 180 องศา
เฟสตรงข้ามกัน
    คือผลต่างเฟสที่มีค่าเท่ากับ 180 องศา เช่น จุดcกับe
เฟสเดียวกัน
    คือผลต่างเฟสที่มีค่าเท่ากับ 360 องศา เช่น จุดcกับg

ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

วันอังคารที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

อัตราเร็วคลื่น

กรกฎาคม 06, 2564 // by curayou // 2 comments

อัตราเร็วคลื่น

    เมื่อคลื่นแผ่จากแหล่งกำเนิดคลื่นไปแล้ว  แสดงว่าคลื่นมีการเปลี่ยนตำแหน่ง นั้นก็หมายความว่า คลื่นมีอัตราเร็ว  
        นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่า
            1. อัตราเร็วคลื่นจะเปลี่ยนไปเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่างกัน (มีสมบติทางฟิสิกส์ต่างกัน)
            2. อัตราเร็วคลื่นสม่ำเสมอ คงตัว ในตัวกลางเดียวกันที่เคลื่นที่ผ่าน ไม่มีความเร่ง
            3. ความถี่ของคลื่นไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าคลื่นจะเคลื่อนที่ไปกี่ตัวกลางก็ตาม
            4. แอมพลิจูดของคลื่นจะคงตัว หากว่าไม่มีการสูญเสียพลังงาน
        

นักเรียนลองดูรูปข้างล่าง

การเคลื่อนที่ของคลื่น




จากรูปนักเรียนจะเห็นว่า เวลาผ่านไป คลื่นจะเปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อย ๆ ซึ่งในรูปคลื่นจะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ ด้วยเวลาท่ี่ผ่านไป
    จากนิยามที่ว่า อัตราเร็วคลื่นเท่ากับระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา  จะได้สมการว่า
            

เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ผ่านไปครบ 1 รอบ พอดี จะใช้เวลาในการเคลื่อนที่เท่ากับคาบพอด  t = T  ส่วนคลื่นจะเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางเท่ากับความยาวคลื่นพอดี จะได้สมการใหม่ว่า


และจากความสัมพันธ์ระหว่างคาบกับความถี่


ดังนั้นสมการของคลื่นที่มีความสัมพันธ์กันระหว่าง อัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่นคือ


สมการสุดท้ายจะเห็นว่า 
    1. อัตราเร็วคลื่นเท่ากับผลตูณระหว่างความถี่กับความยาวคลื่น
    2. ถ้าความถี่คลื่นมาก   ความยาวคลื่นจะน้อย
    3. ถ้าความถี่คลื่นน้อย  ความยาวคลื่นจะมาก





ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ส่วนประกอบของคลื่น

กรกฎาคม 05, 2564 // by curayou // 1 comment

ส่วนประกอบของคลื่น

    ให้นักเรียนสังเกตการเคลื่อนที่ของคลื่นในเส้นเชือกข้างล่าง


กราฟการกระจัดกับเวลา


    เมื่อคลื่นเคลื่อนที่หรือแผ่ไปที่อื่น โดยสมมติว่า คลื่นนี้เคลื่อนที่ไปด้วยเวลา 2T เมื่อ T คือคาบ รูปร่างของคลื่นจะเห็นว่าเป็นรูปร่างเหมือนค่าไซน์ โดยส่วนประกอบของคลื่นมีดังต่อไปนี้
    1.ความกว้างของการสั่น อยู่ในแนว X Y หรือเรียกว่าการกระจัด 
        คลื่นจะมีการกระจัดเป็นบวกคืออยู่ในระยะ จาก O ไป X
        คลื่นจะมีการกระจัดเป็นลบคืออยู่ในระยะ จาก O ไป Y
        คลื่นจะไม่มีการกระจัดเลย อยู่ในตำแหน่ง O
    2.แอมพลิจูด (A) คือ ค่าของการกระจัดมากสุด หรือค่าของการกระจัดน้อยสุด
        ในรูปคือระยะ EA,FC,GBและHD
    3.สันคลื่นหรือยอดคลื่น  คือตำแหน่งที่มีการกระจัดสูงสุด ในรูปคือจุด AและB
    4.ท้องคลื่น คือตำแหน่งที่มีการกระจัดน้อยสุด ในรูปคือจุด CและD
    5.ความยาวคลื่น(λ) เป็นระยะทางของคลื่นที่เคลื่อนที่ได้ 1 รอบ หรือ 1 ลูกคลื่น ดังรูปข้างล่าง  
        โดยวิธีหาความยาวคลื่น
            1.วิธีที่ง่ายที่สุดคือในการวัดระยะความยาวคลื่นคือ
                1.1. วัดจากระยะสันคลื่นที่อยู่ติดกัน
                1.2. วัดจากระยะท้องคลื่นที่อยู่ติดกัน
            2. วิธีคำนวณ หาได้จาก
    6.เฟส คือตำแหน่งของอนุภาคของการสั่น โดยบอกเป็นมุม เทียบกับการเคลื่อนแบบวงกลม ดังนั้นอนุภาคที่สั่นครบ 1 รอบ จะได้ 360 องศา หรือ 2PI เรเดียน




ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

วันอาทิตย์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ธรณีภาค

กรกฎาคม 04, 2564 // by curayou // No comments

ธรณีภาค

ให้นักเรียนศึกษาจากคลิปด้านล่าง



ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

คลื่น บททั่วไป

กรกฎาคม 04, 2564 // by curayou // No comments

บททั่วไป

ให้นักเรียนศึกษาจากคลิปด้านล่าง


ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

ธรรมชาติของคลื่น

กรกฎาคม 04, 2564 // by curayou // 2 comments

1.ธรรมชาติของคลื่น

    1.1 ปรากฏการณ์คลื่น

    คลื่น เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติชนิดหนึ่ง  คลื่นเข้ามาเกี่ยวกับชีวิตประจำวันอย่างขาดไม่ได้ ไม่ว่าการใช้โทรศัพท์ ก็ต้องใช้คลื่น  การดูโทรทัศน์ก็ยังใช้คลื่น การสื่อสารด้วยการพูด เสียงพูดที่ออกมาก็เป็นคลื่น  ไปทะเลยังต้องเจอคลื่นอีกเช่นกัน
    คลื่นเป็นปรากฏการณ์ของการถ่ายทอดพลังงานจากแหล่งกำเนิดไปยังรอบ ๆ จุดกำเนิด
    การกำเนิดคลื่น เช่น คลื่นน้ำที่เกิดในทะเล  ปกติน้ำทะเลก็เป็นปกติไม่มีการเคลื่อนที่ใด ๆ แต่เมื่อน้ำทะเลถูกรบกวน ทั้งกระแสลม แสงแดด การรบกวนนี้เป็นการถ่ายทอดพลังงานมายังน้ำทะเล และน้ำทะเลก็ต้องถ่ายทอดมาเป็นพลังในรูปของคลื่นแผ่ออกมา และถ่ายทอดพลังงานนั้นไปเรื่อย ๆ ดังรูปข้างล่าง


    1.2 ชนิดของคลื่น
        ชนิดของคลื่นที่เกิดขึ้นนั้น ขึ้นอยู่กับกฏเกณฑ์ที่นักวิทยาศาตร์ตั้งขึ้น คลื่นอันเดียวกันอาจจะเป็นคลื่นชนิดต่างกันก็ได้
        ก.จำแนกตามความจำเป็นของตัวกลาง
            1. คลื่นกล  เป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงาน เช่น  คลื่นน้ำ(มีน้ำเป็นตัวกลาง) คลื่นเสียง(มีของแข็ง ของเเข็ง อากาศ เป็นตัวกลาง)และลองคิดดูอีกว่ามีอะไรอีบ้าง
            2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงาน เช่น  แสง  รังสีแกมม่า คลื่นวิทยุ
        ข.จำแนกตามลักษณะการสั่น
            1. คลื่นตามยาว เป็นลักษณะที่มีการสั่นไปในเดียวกับทิศของการแผ่ไปของคลื่น เช่น คลื่นเสียง


            2. คลื่นตามขวาง เป็นลักษณะที่มีการสั่นตั้งฉากกับทิศของการแผ่ไปของคลื่น คลื่นน้ำ


        ค.จำแนกตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้น
            ให้นักเรียนศึกษาจากคลิปด้านล่างนี้
      



ให้นักเรียนคลิกตามลิงค์ข้างล่าง
  1.เพื่อกำกับการเรียน
  2.ตอบได้ครั้งเดียว
  3.โปรดดูเลขที่ของตนเอง  ที่ถูกต้องในเฟสกลุ่ม









หน้า HTML ตัวอย่าง

บทความที่ใหม่กว่า บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก