• LinkedIn
  • Join Us on Google Plus!
  • Subcribe to Our RSS Feed

วันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2564

เฉลยแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มิถุนายน 30, 2564 // by curayou // No comments

เฉลยการคำนวณการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตอนนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์กราฟของการการเคลื่อนแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตัวอย่าง  นักเรียนได้ทำการทดลองการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าวง่าย ปรากฎว่าได้ผลของความเร็วกับเวลาดังรูปข้างล่าง





จงหา
ก.ความเร็วสูงสุด
ข.ความถี่เชิงมุม
ค.ความเร่งสูงสุด
ง.ที่เวลา 4.5 วินาที ความเร็วมีค่าเท่าใด






หน้า HTML ตัวอย่าง

วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2564

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มิถุนายน 29, 2564 // by curayou // No comments

ตัวอย่างการคำนวณการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตอนนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตัวอย่าง  ในการศึกษาการสั่นของสปริง ถ้าเราเพิ่มมวลเป็น 9 เท่าของอัน เดิม ความถี่ของการสั่นจะเป็นอย่างไร


หน้า HTML ตัวอย่าง

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มิถุนายน 29, 2564 // by curayou // No comments

ตัวอย่างการคำนวณการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตอนนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์กราฟของการการเคลื่อนแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตัวอย่าง  นักเรียนได้ทำการทดลองการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าวง่าย ปรากฎว่าได้ผลของความเร็วกับเวลาดังรูปข้างล่าง



จงหา
ก.ความเร็วสูงสุด
ข.ความถี่เชิงมุม
ค.ความเร่งสูงสุด
ง.ที่เวลา 4.5 วินาที ความเร็วมีค่าเท่าใด






หน้า HTML ตัวอย่าง

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มิถุนายน 29, 2564 // by curayou // No comments

ตัวอย่างการคำนวณการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตอนนี้จะศึกษาเกี่ยวกับการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา

ตัวอย่าง  นักวิทยาศาสตร์ท่านหนึ่งใช้เชือกความนยาวค่าหนึ่ง ให้มีการแกว่งอย่างอิสระด้วยมุมน้อย ๆ ทำให้ลูกตุ้มนี้เคลื่อนแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ด้วยคาบ 4 วินาที  หลังจากนั้นนักวิทยาศาสตร์ท่านนี้ก็ได้รับคัดเลือกให้ไปศึกษาการแกว่งของลูกตุ้มนี้ที่ดวงดาว โดยใช้อุปกรณืเหมือนเดิมทุกอย่าง และควบคุมตัวแปรให้เหมือนการทดลองบนโลก คาบของการแกว่งของลูกตุ้มนี้จะมีค่าเป็นอย่างไรเมื่อ
ก.ไปทดลองการแกว่งบนดวงจันทร์
ข.ไปทดลองการแกว่งบนดาวพฤหัสบดี

คำใบ้ที่ 1 ตามรูปข้างล่าง



คำใบ้ที่ 2 ตามรูปข้างล่าง



คำใบ้ที่ 3 ตามรูปข้างล่าง
  ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดาวพฤหัสบดีมากกว่าค่าเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก 2.34 เท่า



คำใบ้ที่ 4 ตามรูปข้างล่าง
  ค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์น้อยกว่าค่าความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก 6 เท่า

ลองทำดูนะครับ













หน้า HTML ตัวอย่าง

วันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2564

ตัวอย่างความเร็ว

มิถุนายน 10, 2564 // by curayou // No comments

ตัวอย่างการคำนวณการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ตอนนี้จะศึกษาเกี่ยวกับ อัตราเร็วสูงสุด อัตราเร่งสูงสุด อัตราเร็วขณะหนึ่ง อัตราเร่งขณะหนึ่ง

ตัวอย่าง  วัตถุเคลื่อนแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ด้วยการกระจัดสูงสุด 10 เซนติเมตร และมีความถี่เชิงมุมเท่ากับ 4 เรเดียนต่อวินาที จงหา
    ก.อัตราเร็วสูงสุด
    ข.อัตราเร่งสูงสุด
    ค.อัตราเร็วขณะที่มีการกระจัดเท่ากับ 6 เซนติเมตร
    ง.อัตราเร่งขณะที่มีการกระจัดเท่ากับ 3 เซนติเมตร
    จ. ความถี่
    ฉ. สมการของการกระจัด
    ช.สมการของความเร็ว
    ซ.สมการของความเร่ง
    ฌ.กราฟของการกระจัดกับเวลา
    ญ.กราฟของความเร็วกับเวลา
    ฎ.กราฟของความเร่งกับเวลา


นักเรียนศึกษาตามลิงค์ข้างล่าง
 นักเรียนดูให้จบนะครับ  อันนี้ต้องจด นะครับ









หน้า HTML ตัวอย่าง

วันพุธที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2564

การกระจัดของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก

มิถุนายน 09, 2564 // by curayou // 49 comments

ตัวอย่างการคำนวณการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ศึกษาตามลิงค์ข้างล่าง


 นักเรียนดูให้จบนะครับ  อันนี้ต้องจด นะครับ







หน้า HTML ตัวอย่าง

วันจันทร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2564

ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มิถุนายน 07, 2564 // by curayou // No comments

ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย



จุดประสงค์การเรียนรู้

    1.  อธิบายการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง ของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายได้

    2.  คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

เนื้อหา

    1.  อัตราเร็วเชิงมุม ความถี่เชิงมุม

        

 2.  การกระจัดของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

        สมการการกระจัดของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่ขึ้นกับเวลาคือ

         

        การกระจัด x มีหน่วยเป็นเมตร

        กราฟของการกระจัดกับเวลา




    3.  ความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

        สมการการความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่ขึ้นกับเวลาคือ

    


        โดยความเร็วสูงสุดหาได้จาก
         


        หน่วยของความเร็วคือเมตร/วินาที

        กราฟของความเร็วกับเวลา

        




        4.  ความเร่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
              สมการการความเร่งของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายที่ขึ้นกับเวลาคือ

               


            โดยความเร่งสูงสุดหาได้จาก

              


      หน่วยของความเร่งคือเมตร/วินาที^2

        กราฟของความเร่งกับเวลา

        


ฝากกดติดตามด้วยนะครับ  ช่องครูเอง รักนะ






หน้า HTML ตัวอย่าง

ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มิถุนายน 07, 2564 // by curayou // No comments

ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

จุดประสงค์การเรียนรู้

    1.  อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายได้

บทนิยาม

    การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย หมายถึง การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ำรอยเดิมผ่านตำแหน่งสมดุล ดดยมีแอมพลิจูดและคาบคงตัว

นักเรียนศึกษารายละเอียดตาลิงค์ข้างล่าง

ฝากกดติดตามด้วยนะครับ  ช่องครูเอง รักนะ





หน้า HTML ตัวอย่าง

Read More

วันศุกร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2564

บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง่าย

มิถุนายน 04, 2564 // by curayou // No comments

บทที่ 8 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง่าย

   มีทั้งหมด 4 หัวข้อหลัก ดังนี้

1.  ลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

2.  ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

    2.1  การกระจัดของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

    2.2  ความเร็วและความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

3.  แรงกับการสั่นของมวลที่ติดปลายสปริงและลูกต้มอย่างง่าย

    3.1  การสั่นของมวลที่ติดปลายสปริง

    3.2  การแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่าย

4.  ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ้อง

    





หน้า HTML ตัวอย่าง

Read More

วันพฤหัสบดีที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2564

ฟิสิกส์ 3 ว30203 ผลการเรียนรู้

มิถุนายน 03, 2564 // by curayou // No comments

ผลการเรียนรู้

   มีทั้งหมด 10 ข้อ เทียบเท่า 100 คะแนน เทียบเท่าการเรียนรู้ 80 คาบ

1 . ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้อง  จำนวนชั่วโมง  4  ชั่วโมง

2 . อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง  จำนวนชั่วโมง  2  ชั่วโมง

3 . อธิบายการเกิดปรากฏการณืคลื่น  ชนิดของคลื่น  ส่วนประกิบของคลื่น  การแผ่ของหน้าคลื่นด้วยหลักกการของออยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักกการซ้อนทับ  พร้อมทั้งคำนวณอัตราเร็ว  ความถี่ และความยาวคลื่น  จำนวนชั่วโมง  11  ชั่วโมง

4 . สังเกตและอธิบายการสะท้อน  การหักเห การแทรกสอด  และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้อง  จำนวนชั่วโมง  12  ชั่วโมง

5 . ทดลอง และอิบายการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่และเกรตติง  การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตเดี่ยว รวมั้งคำนวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้อง  จำนวนชั่วโมง  12  ชั่วโมง

6 . ทดลอง และอธิบายการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฏการสะท้อน  เขียนรังสีของแสงและคำนวณตำแหน่งและขนาดภาพของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมรวมทั้งอธิบายการนำความรู้เรื่องการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบ กระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชนืในชีวิตประจำวัน  จำนวนชั่วโมง  11  ชั่วโมง

7 . ทดลองและอิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเหรวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ  มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง และคำนวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้อง  จำนวนชั่วโมง  12  ชั่วโมง

8 . ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคำนวณปริมาณต่างๆที่เกียวข้อง และอธิบายการนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน  จำนวนชั่วโมง  12  ชั่วโมง

9 . อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสง เช่น รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการเห็นท้องฟ้าเป็นสีต่างๆในชาวงเวลาที่ต่างกัน  จำนวนชั่วโมง  2  ชั่วโมง

10 . สังเกตและอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมทั้งอธิบายสาเหตุของการบอดสี  จำนวนชั่วโมง  2  ชั่วโมง





หน้า HTML ตัวอย่าง

บทความที่ใหม่กว่า บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก